1.05.2013

China new hope or more debt???

China's economy is slowing, local authorities are piling on debt and banks are setting aside more money as loans sour.

The economy could slow below the government's target of 7.5 per cent. Anywhere else, such growth would be to die for, but for China anything below seven per cent could see millions joining the jobless - a prospect that could lead to social unrest.

What's the solution? More stimulus or allowing the yuan to depreciate against the dollar.
China has announced a total of 8tn yuan ($1.26tn) of "stimulus projects" to try to boost confidence in an economy that appears to be cooling faster than expected.
That could be a lot of hot air. For now, there is little appetite to do anything. China is rudderless until a new Communist Party leadership is installed.

    "They are sending out the message that they want to stimulate the economy, but in reality that is not going to happen," influential independent China economist, Andy Xie, told the Reuters news agency. "About the only tool left to them now is propaganda."

The Chinese leadership has been reluctant to throw money at its economic problems, like it did during the economic crisis in 2008. Then it spent 4 trillion yen or $630bn dollars to register growth of more than 9 per cent.

So why not spend the money? Does Beijing know something that it isn't telling the rest of the world?

China's debt-to-GDP-ratio stands officially at 16.3 per cent. The problem is that excludes China's hidden liabilities. Debts held by ministries and provinces. Analysts put Beijing's debt in the region of 90 to 160 per cent.
    

According to China's National Audit Office, local governments had amassed about $1.7tn of debt by the end of 2010, about 27 per cent of the country's GDP, but other estimates put the number at almost twice that.

Jonathan Kaimah goes on to write in his Foreign Policy article, China's Debt Bomb, that the municipality of Tianjin could be the potential ground zero for the Chinese real-estate meltdown.
The city borrowed almost $64bn to build industrial and residential parks to attract big business.
In fact after China's massive stimulus programme there has been some blowback. Chinese banks are going after some debtors in the steel industry.

    By the end of last year, China's steel industry 
had a total debt burden of $400bn - around the size of South Africa's economy. Some of China's leading mills alone owe 200-300bn yuan ($32-$47bn), according to the China Iron and Steel Association.

It goes without saying that such a huge buildup of debt could cripple the economy, damage global prospects and seriously erode confidence in BeijingThe new leadership could have a plan and come up smelling of roses.

    "A bad year is not the end of the world for the Party. The new leaders come in, turn things around in 2013 and look like heroes," Tim Condon, head of Asian economic research at ING in Singapore, told Reuters news agency, adding that aggressive stimulus would thwart policies to fight speculation and rebalance the economy.
"What they seem to be saying is that they are not going to take the easy way and double down on the command and control policies, but stay on the course of market-oriented reform," Condon said.
"That's a really positive story - if it's true."

Aljazeera // China: New hope, or more debt? Sep 3, 2012


เศรษฐกิจของจีนอยู่ในภาวะชะลอตัว, รัฐบาลท้องถิ่นซ่อนหนี้ และแบงค์มีการกันเงินมากขึ้นเผื่อกรณีผิดนัดชำระ

เศรษฐกิจอาจจะชะลอต่ำกว่าเป้าหมายของรัฐบาลที่ 7.5 เปอร์เซ็นต์ แน่นอนว่าที่ใดมีอัตราการเติบโต ที่นั่นก็จะมีการพัฒนาเกิดขึ้น แต่นั่นไม่ใช่สำหรับจีน เพราะอัตราการเติบโตทุกอย่างล้วนต่ำกว่า 7 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งสะท้อนจากอัตราการว่างงาน ซึ่งอาจนำไปสู่​​ความวุ่นวายทางสังคม

การแก้ปัญหาคืออะไร? กระตุ้นมากขึ้นหรือช่วยให้หยวนอ่อนค่าไปเมื่อเทียบกับดอลลาร์
จีนได้ประกาศโครงการกระตุ้นเศรษฐกิจมูลค่ารวม 8ล้านล้านหยวน (1.26 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ) เพื่อพยายามที่จะสร้างความเชื่อมั่นในระบบเศรษฐกิจที่ดูเหมือนจะลดความร้อนแรงเร็วกว่าที่คาดการณ์
นั่นอาจดูเหมือนเป็นการสร้างบรรยากาศที่ร้อนแรง ในขณะที่มีการดำเนินการต่อมาตรการดังกล่าวน้อยมากในตอนนี้ ซึ่งนั่นอาจเป็นเพราะจีนอยู่ในภาวะเปลี่ยนแปลง และแต่งตั้งผู้นำพรรคคอมมูนิสต์รุ่นใหม่
    "พวกเขากำลังจะส่งสารออกไปว่า พวกเขาต้องการกระตุ้นเศรษฐกิจ แต่ในความเป็นจริงไม่มีอะไรเกิดขึ้น" Andy Xie นักเศรษฐศาสตร์อิสระผู้มีอิทธิพลของจีนกล่าวแต่สำนักข่าวรอยเตอร์ "เครื่องมือเดียวที่พวกเขาใช้อยู่ตอนนี้คือโฆษณาชวนเชื่อ."


ผู้นำจีนเกิดความลังเลในการทุ่มเงินให้แก่ปัญหาเศรษฐกิจ เหมือนกับที่เคยทำมาก่อนเมื่อคราวเกิดวิกฤติเศรษฐกิจในปี 2008 ตอนนั้นเงินถูกใช้ไป 4 ล้านล้านหยวน หรือ 630,000 ล้านยูเอสดอลลาร์ ซึ่งส่งผลให้เศรษฐกิจเติบโตมากกว่า 9%

ดังนั้นทำไมไม่ใช้จ่ายเงิน? หรือรัฐบาลปักกิ่งรู้บางสิ่ง ซึ่งยังไม่ได้บอกส่วนที่เหลือแก่โลกภายนอก


อัตราส่วนหนี้สินของจีนต่อจีดีพีอย่างเป็นทางการของจีนอยู่ที่ 16.3% แต่ปัญหาคือยังมีหนี้สินอีกจำนวนหนึ่งที่ถูกซ่อนไว้ซึ่งไม่ถูกรวม เช่นหนี้ที่ถือโดยรัฐบาลท้องถิ่น และหน่วยงานกระทรวง นักวิเคราะห์หลายสำนักคาดว่าหนี้สินรวมของรัฐบาลปักกิ่งอยู่ที่ 90 ถึง 160%

    สอดคล้องกับที่สำนักงานตรวจสอบแห่งชาติของจีน หากรวมตัวเลขหนี้ของรัฐบาลท้องถิ่นเขาไว้ด้วยกันตัวเลขเมื่อสิ้นปี 2010 จะอยู่ที่ประมาณ 1.7 ล้านล้านเหรียญ หรือ 27% ของจีดีพีประเทศ แต่ตัวเลขประมาณการณ์อื่น ๆ กลับใส่ตัวเลขที่มากกว่าเกือบสองเท่า
Jonathan Kaimah ได้เขียนบทความนโยบายต่างประเทศไว้ในหัวข้อ China's Debt Bomb ว่าเทศบาลนครเทียนจินมีแนวโน้มที่จะก่อให้เกิดการพังทลายของภาคอสังหาริมทรัพย์ของจีน

เทศบาลได้กู้ยืมเงินเกือบ 64,000 ล้านเหรียญเพื่อก่อสร้างศูนย์อุตสาหกรรม และที่อยู่อาศัยเพื่อดึงดูดภาคธุรกิจขนาดใหญ่
ในความเป็นจริงหลังจากมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจขนานใหญ่ของจีนก็เหมือนการต่อลมหายใจให้แก่ธนาคารจีนให้เดินต่อไปได้ จากปัญหาลูกหนี้บางรายในอุตสาหกรรมเหล็ก
    เมื่อสิ้นปีที่ผ่านมาอุตสาหกรรมเหล็กของจีนมีภาระหนี้รวมอยู่ที่ 4 แสนล้านเหรียญ - ประมาณขนาดของเศรษฐกิจของแอฟริกาใต้ โรงงานเหล็กชั้นนำบางแห่งของจีนมีพุ่งขึ้นไปถึง 2 3 แสนล้านหยวน (32 – 47 พันล้านเหรียญ) สอดคล้องกับตัวเลขของสมาคมเหล็กและเหล็กกล้าของจีน

มาตรการดังกล่าวอาจไปต่อได้ โดยไม่ต้องพูดถึงเรื่องหนี้สะสมที่อาจก่อให้เกิดความอ่อนเปลี้ยทางเศรษฐกิจ ทำลายความคาดหวังต่อเศรษฐกิจโลก และสามารถกัดกร่อนความเชื่อมั่นของรัฐบาลปักกิ่ง
ผู้นำคนใหม่อาจมีแผนและมาพร้อมกับกลิ่นกุหลาบ

 "ปีที่แย่ ๆ ไม่ได้จบไปพร้อมกับจุดจบของพรรค กลุ่มผู้นำใหม่ที่เข้ามา อาจพลิกโฉมเปลี่ยนแปลงในปี 2013 และดูเหมือนวีรบุรุษ" Tim Condon, หัวหน้าฝ่ายวิจัยเศรษฐกิจเอเชียแห่งไอเอ็นจีสิงคโปร์กล่าวแก่สำนักข่าวรอยเตอร์ เสริมด้วยมาตรการกระตุ้นเชิงรุกเพื่อขัดขวางนโยบายต่อสู้การเก็งกำไรและถ่วงดุลทางเศรษฐกิจ

"สิ่งที่พวกเขาดูเหมือนจะพูดคือ พวกเขาไม่ดำเนินการในวิถีทางง่าย ๆ และถ่ายทอดอำนาจ สั่งการ และควบคุมนโยบาย แต่ก็ยังอยู่ในแบบแผนของการปฏิรูปเศรษฐกิจแบบชี้นำอยู่" Condon กล่าว

"ถ้ามันเป็นความจริง ก็ถือเป็นเรื่องที่ดีจริง ๆ"

No comments:

Post a Comment

Thanks for comment!